RID logo THx120 1

 ศูนย์การจัดการความรู้ สำนักงานชลประทานที่ 2

    Knowledge Management Center
  1. 1
  2. 2
  3. 3
  4. 4
  5. 5
  6. 6

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

สำนักงานชลประทานที่ 2

หมวดที่ 1 การนำองค์กร

 ประเด็นการประเมิน  ระดับ      การดำเนินการ   หลักฐาน
 1 2 3 4 5
 1.1 CKO สื่อสาร ถ่ายทอดทิศทางของหน่วยงาน (วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ของกรม) ต่อบุคลากรเพื่อให้บุคลากรได้รับรู้ เข้าใจถึงเป้าหมายองค์กร และนำส่วนที่เกี่ยวข้องไปปฏิบัติอย่างไร (พิจารณาประกอบกันในมิติต่าง ๆ ประกอบด้วย ช่องทางการสื่อสาร ความถี่ของการสื่อสาร และความครอบคลุมทุกส่วน กลุ่ม ฝ่าย จนถึงระดับบุคคล)                                                              

เว็บไซต์หลักของสำนักฯ แสดงวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ของกรม และวัฒนธรรมบุคลากรของสำนักงานชลประทานที่ 2

เข้าชม
สารจาก COK 2023 เข้าชม
บอร์ดติดหน้าอาคาร แสดงวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และยุทธศาสตร์ของกรม เข้าชม 
 1.2 CKO สื่อสาร ถ่ายทอด วิสัยทัศน์การจัดการความรู้และวัฒนธรรมการเรียนรู้ของกรมชลประทานสู่บุคลากรเพื่อให้บุคลากรได้รับรู้ เข้าใจถึงเป้าหมายการจัดการความรู้ และนำส่วนที่เกี่ยวข้องไปปฏิบัติอย่างไร (พิจารณาประกอบกันในมิติต่าง ๆ ประกอบด้วย ช่องทางการสื่อสาร ความถี่ของการสื่อสาร และความครอบคลุมทุกส่วน กลุ่ม ฝ่าย จนถึงระดับบุคคล) เว็บไซต์หลักของสำนักฯ แสดงวิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ของกรม และวัฒนธรรมบุคลากรของสำนักงานชลประทานที่ 2 เข้าชม  
มีในเว็บไซต์คลังความรู้ของสำนักฯ วิสัยทัศน์ ค่านิยม และยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ เข้าชม
CKO ประชุมประจำเดือนของผู้บริหารสำนักฯ

เดือนมกราคม

เดือนกุมภาพันธ์

เดือนมีนาคม

เดือนเมษายน

เดือนพฤษภาคม

เดือนมิถุนายน

เดือนกรกฎาคม

เดือนสิงหาคม

 1.3 CKO สื่อสารแนวทางการดำเนินการจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอย่างไร (พิจารณาประกอบกันในมิติต่าง ๆ ประกอบด้วย ช่องทางการสื่อสาร ความถี่ของการสื่อสาร และความครอบคลุมทุกส่วน กลุ่ม ฝ่าย จนถึงระดับบุคคล)  คำสั่งแต่งตั้งทีมงานการจัดการความรู้ ทีมงานเครือข่าย เข้าชม
ประชุมการจัดการความรู้เพื่อจัดทำแผน (Action Plan)  เข้าชม
CKO สื่อสารนโยบายการบริหารฯ สชป.2 สื่อสารวิสัยทัศน์ กรมชลประทานและ การจัดการความรู้  เข้าชม
 1.4 CKO สร้างบรรยากาศเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของบุคลากรในสังกัดอย่างไร CKO ให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในสำนัก (อบรมภายในอย่างสม่ำเสมอ) เข้าชม
1.5 CKO แสดงออกในการเป็นแบบอย่างที่ดีเพื่อส่งเสริมการจัดการความรู้อย่างไร (เช่น แสดงพฤติกรรมการถ่ายทอด แบ่งปันความรู้ การเข้าร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ของหน่วยงาน เป็นต้น)  CKO ใช้ Facebook แจ้งข่าวการทำงานและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ CKO ดำเนินการให้กับบุคลากรของสำนักอย่างเป็นระบบ ผ่านทาง Facebook สำนักงานชลประทานที่ 2 จังหวัดลำปาง เข้าชม
CKO ส่งตัวแทนเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KM Buddy 2023

เข้าชม

เข้าชม 

1.6 CKO สนับสนุน ให้รางวัลแก่บุคลากรที่แสดงออกในการร่วมพัฒนาการจัดการความรู้ของหน่วยงานหรือไม่ ประกอบด้วย ทีมงานจัดการความรู้ของหน่วยงาน บุคลากรที่เสนอนวัตกรรมเข้าร่วมประกวด บุคลากรที่เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้ผู้รับบริการ เป็นต้น CKO กล่าวแสดงความยินดีให้กับบุคลากรที่ได้รับรางวัลในการประชุมสำนักฯ เข้าชม
 1.7 CKO ดำเนินการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ / นวัตกรรม ที่ต้องนำมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างไร   CKO ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการสร้างนวัตกรรมตามสารจาก CKO ที่ได้ให้ไว้ เข้าชม 
 CKO ให้ส่วนบริหารจัดการน้ำและบำรุงรักษา นำเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ

เข้าชม

 1.8 CKO สนับสนุนให้นำเครื่องมือการจัดการความรู้ ( KM Tools เช่น AAR, COP, Story Telling, Coaching, K-Forum, K-Asset, Best Practice, Peer Assist, Cross - functional Team etc. มาใช้เพื่อให้การปฏิบัติงานในหน่วยงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น  มีการจัดทำ AAR หลังจากปฏิบัติงานแล้วเสร็จ เข้าชม 
1.9 CKO มีนโยบายกำหนดให้มีการสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตามภารกิจ (หมายถึง งานตามหน้าที่ที่กำหนดของหน่วยงานนั้นๆ เช่น งานพัฒนาแหล่งน้ำ งานการเงิน งานประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ทั้งนี้ ให้พิจารณาจากคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานเป็นข้อมูลสำคัญ) เพื่อแสวงหาแนวทาง/วิธีการที่เหมาะสมในการปรับปรุงการทำงานของสำนัก/กองอย่างไร CKO กำหนดให้สรุปบทเรียน (AAR) ผลการดำเนินงานตามคำรับรองปฏิบัติราชการเพื่อปรับปรุงการดำเนินงาน เข้าชม 
1.10 CKO ประยุกต์ใช้การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานอย่างไร   CKO ลงพื้นที่เพื่อติดตามงาน

 เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

CKO มอบหมายให้โครงการชลประทานจัดการอบรมยุวชลกร

เข้าชม 

เข้าชม

เข้าชม

มอบหมายให้โครงการประชุมกับกลุ่มผู้ใช้น้ำ เพื่อวางแผนการเพาะปลูกพืช

เข้าชม 

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

1.11 CKO กำหนดแนวทาง/วิธีการเพื่อ ควบคุม กำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้เพื่อให้มีการดำเนินการตามแผนอย่างครบถ้วนตามเป้าหมายที่กำหนดอย่างไร CKO ติดตามในที่ประชุมผู้บริหารประจำเดือนของสำนักทุกเดือน เข้าชม 

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

สำนักงานชลประทานที่ 2

หมวดที่ 2 การวางแผนยุทธศาสตร์

 
  ประเด็นการประเมิน      คะแนน  การดำเนินการ  หลักฐาน
 1 2 3 4 5
 2.1 สำนัก/กอง นำผลการสรุปบทเรียนงานตามภารกิจ (จากข้อ 1.9) มาใช้เป็นข้อมูลสำคัญในการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ของสำนัก/กอง (KM Action Plan) หรือแผนพัฒนาองค์กร อย่างไร (ให้อธิบายความเชื่อมโยงของการนำผล AAR มาใช้ประกอบการวางแผนงานจัดการความรู้)                                                            นำยุทธศาสตร์กรมชลประทานและยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร กรมชลประทาน 2566 มาดูให้สอดคล้องกับผล AAR ของสำนัก เข้าชม
 2.2 สำนัก/กอง มีการจัดทำ KM Action Plan ตามแนวทางที่กรมฯ กำหนด ต่อเนื่องทุกปีหรือไม่ ตามแผนปฏิบัติการ KM ปี พ.ศ.2566 ตามแบบฟอร์มที่ 1 และ 2 โดยทำมาต่อเนื่องทุกปี

พ.ศ.2563

พ.ศ.2564

พ.ศ.2565

พ.ศ.2566

 2.3 สำนัก/กอง มีวิธีการคัดเลือกหัวข้อองค์ความรู้เพื่อดำเนินการถอดองค์ความรู้ที่สำคัญและจำเป็นเร่งด่วน อย่างไร เลือกองค์ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล สำหรับบุคลากรที่จะเกษียณอายุราชการในปี 2566 ซึ่งเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์จากการปฏิบัติงานที่ผ่านมาเพื่อส่งต่อแก่บุคลากรของสำนักงานชลประทานที่ 2 ใช้ในการปฏิบัติงานต่อไป เข้าชม
 2.4 สำนัก/กองถ่ายทอด KM Action Plan ไปสู่ผู้ปฏิบัติให้เกิดการดำเนินการทั่วถึงทั้งหน่วยงาน และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามแผนอย่างไร เผยแพร่ KM Action Plan ให้บุคลากรภายในสำนักงานชลประทานที่ 2 ได้รับทราบและนำไปสู่การปฏิบัติผ่านช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น เว็บไซต์คลังความรู้สำนักฯ เข้าชม
 2.5 สำนัก/กองสรูปผลการดำเนินการตาม KM Action Plan เมื่อสิ้นปีงบประมาณ พบว่า สามารถดำเนินการได้บรรตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแผนฯ คิดเป็นร้อยละเท่าใด  สรุปผลการดำเนินการตาม KM Action Plan พบว่า ปัจจุบันสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผน คิดเป็นร้อยละ 70 เช้าชม

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

 

สำนักงานชลประทานที่ 2

 

หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย

 
 ประเด็นการประเมิน  ระดับ      การดำเนินการ  หลักฐาน
 1 2 3 4 5

 3.1 สำนัก/กอง กำหนดแนวทาง/วิธีการสำรวจเพื่อให้ทราบความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร

                                                                     มีการมอบหมายให้โครงการส่งน้ำ/โครงการชลประทานจังหวัดลงพื้นที่เพื่อรับฟังความคิดเห็น ปัญหา อุปสรรคของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทราบความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย 

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

 3.2 สำนัก/กอง รับฟังข้อร้องเรียนที่เป็นปัจจุบันของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผ่านช่องทางใด

 สำนักงานชลประทานที่ 2 มีการเปิดรับฟังข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสียผ่านหลากหลายช่องทาง เช่น หน้าเว็บไซต์สำนักงานชลประทานที่ 2, ระบบ Traffy Fondue จังหวัดลำปาง, Facebook สำนักงานชลประทานที่ 2, เขียนจดหมายส่งมายังสำนักงานชลประทานที่ 2 โดยตรง ฯลฯ

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

 3.3 สำนัก/กอง นำข้อมูล (ทั้งข้อร้องเรียนและความต้องการ) จากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาใช้เป็นข้อมูลสำคัญ และนำไปปรับปรุงกระบวนการทำงานเพื่อให้บริการที่ดีขึ้นอย่างไร  มีการรายงานสถานการณ์น้ำของทุกโครงการต้องรายงานก่อน 9.00 น.ผ่านทางเว็บไซต์สำนักงงานชลประทานที่ 2 และ Facebook สำนักงานชลประทานที่ 2 ทุกวัน

เข้าชม

เข้าชม

 3.4 สำนัก/กองใช้ข้อมูลและความรู้ (จากข้อ 3.1 - 3.3) ที่ได้รับจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และนำไปช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร (การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หมายถึง สามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้ตามความเหมาะสม สร้างความพึงพอใจได้ สร้างความเข้มแข็งให้เครือข่ายได้ จูงใจให้เครือข่ายเข้ามาร่วมประสานประโยชน์และส่งผลดีกับการทำงานได้ ปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น) เข้าร่วมกิจกรรม “หน่วยบำบัดทุกข์ บำรุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ประชาชน” เผยแพร่ข่าวสารและรับฟังปัญหาจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

 เข้าชม

เข้าชม

3.5 สำนัก/กองประเมินความพึงพอใจ (พอใจ/ไม่พอใจ) ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร  จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  เข้าชม
3.6 สำนัก/กองมีช่องทางที่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศเพื่อรับบริการของสำนัก/กองผ่านช่องทางใดบ้าง และช่องทางใดมีประสิทธิภาพที่สุด  เผยแพร่ข่าวสารด้านบริหารจัดการน้ำและกลุ่มผู้ใช้น้ำผ่าน Facebook และเว็บไซต์สำนักงานชลประทานที่ 2 เพื่อความง่ายต่อการเข้าถึงมีและมีประสิทธิภาพมากที่สุด

 เข้าชม

เข้าชม

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

สำนักงานชลประทานที่ 2

 

หมวดที่ 4 การวัด วิเคราะห์และจัดการความรู้

  ประเด็นการประเมิน     คะแนน   การดำเนินการ หลักฐาน
 1 2 5
4.1 สำนัก/กอง คัดเลือก รวบรวม เชื่อมโยง และบูรณาการข้อมูลสารสนเทศเพื่อติดตามการปฏิบัติงานประจำวันอย่างไร (ข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นในการทำงานประจำวัน เช่น สถานะตัวชี้วัดที่สำคัญที่เชื่อมโยงถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เช่น สถานการณ์น้ำ สถานการณ์เบิกจ่ายงบประมาณ สถานะความก้าวหน้าการดำเนินการงาน/โครงการที่สำคัญ เป็นต้น)                                                                 จัดทำระบบสรุปข้อมูลสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำที่สำคัญขึ้นแสดงหน้าเว็บไซต์หลักของสำนัก เข้าชม
          เชื่อมโยงระบบรายงานข้อมูลสถานการณ์น้ำประจำวันทางในหน้าเว็บไซต์ เข้าชม
          จัดทำระบบสรุปข้อมูลสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำที่สำคัญขึ้นแสดงหน้าเว็บไซต์หลักของสำนัก เข้าชม
          จัดทำเว็บไซต์รายงานคำรับรองผลการปฏิบัติราชการตามรอบติดตามรายเดือนประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เข้าชม
          จัดทำระบบติดตามสถานะการส่งงานของทุกหน่วยงานในสังกัด เข้าชม
4.2 สำนัก/กอง update เว็บไซต์ของหน่วยงานและเว็บไซต์คลังความรู้อย่างสม่ำเสมอ เพื่อใช้ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอย่าง           จัดทำแผนการปรังปรุงเว็บไซต์คลังความรู้ประจำปี พ.ศ.2566

เข้าชม

            มีการปรับปรุงเว็บไซต์หลักของสำนักงานชลประทานที่ 2 และเว็บไซต์คลังความรู้ในรูปแบบที่ทันสมัยและเข้าถึงเนื้อหาได้ง่ายขึ้น

เข้าชม

เข้าชม

4.3 สำนัก/กอง ประมวล กลั่นกรอง ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของความรู้ที่จัดเก็บในคลังความรู้ของสำนัก/กองอย่างไร            มีตำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ เพื่อกลั่นกรอง ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จะนำมาจัดเก็บในเว็บไซต์คลังความรู้ เข้าชม
4.4 สำนัก/กอง มีแผน /ผังกระบวนการ เพื่อปรับปรุงเว็บไซต์คลังความรู้ให้เป็นตามลักษณะ           จัดทำเว็บไซต์คลังความรู้ของสำนักงานชลประทานที่ 2 ให้มีองค์ประกอบที่ครบถ้วนตามที่คณะกรรมการจัดการความรู้กรมชลประทานกำหนด เข้าชม
4.5 สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้จากบุคลากรในสังกัดอย่างไร              
4.6 สำนัก/กองรวบรวมและถ่ายโอนความรู้จากผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างไร            มีการจัดเวทีชุมชนเพื่อร่วมกันตัดสินใจกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าชม
4.7 สำนัก/กอง จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ข้ามหน่วยงานอย่างไร           มีการจัดกิจกรรมและเปลี่ยนเรียนรู้กับสำนักงานชลประทานที่ 1 เพื่อแลกเปลี่ยนแนวทางในการบริหารจัดการน้ำ เข้าชม
4.8 สำนัก/กอง มีการวัดผลตัวชี้วัดที่สำคัญเพื่อประเมินผลความสำเร็จตามแผนการจัดการความรู้ (ตัวขี้วัดที่สำคัญที่กรมกำหนด คือ ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การรายงานความก้าวหน้าของกรรดำเนินการตามแผน ร้อยละความสำเร็จการดำเนินการตามแผน)           มีการให้ความสำคัญกับผลตัวชี้วัดที่สำคัญและสามารถดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เข้าชม
4.9 สำนัก/กอง มีการออกแบบกิจกรรมการจัดการความรู้ที่มีกลยุทธ์ สอดคล้องกับบริบทองค์กร และมีความโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างจากหน่วยงานอื่น และเกิดผลประโยชน์ในการพัฒนาการจัดการความรู้หรือไม่              

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

 สำนักงานชลประทานที่ 2

 

หมวดที่ 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล

  ประเด็นการประเมิน คะแนน     การดำเนินการ   หลักฐาน
1 2 3 4 5
 5.1 คณะทำงานจัดการความรู้ของสำนัก/กองมีองค์ประกอบตามข้อกำหนดและมีการดำเนินการกิจกรรมตามแผนอย่างต่อเนื่องหรือไม่่                                                             รายชื่อคณะทำงานจัดการความรู้ของสำนักงานชลประทานที่ 2 เข้าชม
           ผู้รับผิดชอบคลังความรู้สำนักงานชลประทานที่ 2 (ยศ.ชป.2) เข้าชม
 5.2 สำนัก/กอง มีวิธีการสนับสนุน ส่งเสริม จูงใจให้บุคลากรมีส่วนร่วมกับกิจกรรม KM อย่างไร  ให้ความสำคัญและสร้างแรงจูงใจเพื่อให้บุคคลากรในสำนักงานชลประทานที่ 2 เห็นประโยชน์จาก KM และเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม KM ทั้งทางตรงและทางอ้อม  
 5.3 บุคลากรของสำนัก/กองได้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรด้านการจัดการความรู้ที่กรมจัดดำเนินการอย่างสม่ำเสมอเพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการความรู้

 สำนักงานชลประทานที่ 2 ส่งผู้แทนเข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการความรู้ที่กรมจัดดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ

1. โครงการสัมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทีมงานเครือข่ายจัดการความรู้ กรมชลประทาน ครั้งที่ 1

2. โครงการสัมนาเชิงปฏิบัติการ RID Hackathon

 

 

เข้าชม

เข้าชม

 5.4 สำนัก/กอง มีการนำผลการประกวดตามโครงการประกวด RID idea Seed โครงการประกวดนวัตกรรม กรมชลประทาน หรือกิจกรรมการประกวด KM ของสำนัก/กอง ไปประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีอย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร  สำนักงานชลประทานที่ 2 ให้ความสำคัญกับการประกวดโครงการประกวดนวัตกรรม กรมชลประทานไปประกอบความดีความชอบการเลื่อนขั้นเงินเดือน เข้าชม
 5.5 สำนัก/กอง ส่งเสริมให้บุคลากรปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน และสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อเป็นสินทรัพย์ของหน่วยงานหรือไม่ (อธิบายวิธีการ/ ยกตัวอย่างนวัตกรรม)  สนับสนุนให้บุคลากรในสำนักงานชลประทานที่ 2 เข้าร่วมประกวดนวัตกรรม กรมชลประทาน และนำนวัตกรรมที่ได้รับรางวัลมาเผยแพร่ใช้ประโยนช์ภายในสำนักงานชลประทานที่ 2  เข้าชม 
 5.6 สำนัก/กอง มีวิธีการถ่ายโอนความรู้ที่สำคัญจากบุคลากรที่จะเกษียน ย้าย โอน ลาออกจากหน่วยงาน เพื่อเก็บรักษาไว้อย่างไร (ความรู้ที่สำคัญ หมายถึง ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติภารกิจหลักของหน่วยงาน)  มีการจัดเวทีถ่ายถอดองค์ความรู้จากผู้เกษียณ ประจำปี พ.ศ.2566 และจัดเก็บไว้ในเว็บไซต์ของสำนักงานชลประทานที่ 2 เข้าชม
 5.7 การจัดการความรู้ภายในสำนัก/กอง ทำให้บุคลากรมีความพึงพอใจและมีความสุขในการทำงานและส่งผลกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานที่ดียิ่งขึ้นหรือไม่  มีการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในหน่วยงานที่มีต่อการจัดการความรู้  

รายงานผลการตรวจประเมินตามเกณฑ์ประเมินการจัดการความรู้ (KMA 2023)

 สำนักงานชลประทานที่ 2

 

หมดวที่ 6 การจัดการกระบวนการ

ประเด็นการประเมิน   คะแนน        การดำเนินการ หลักฐาน
2 3 4 5
 6.1 สำนัก/กองใช้ KM มาปรับปรุงกระบวนงานหลักของสำนัก/กองอย่างไร                                                                  มีการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานของสำนักงานชลประทานที่ 2 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน

เข้าชม

เข้าชม

เข้าชม

 6.2 สำนัก/กอง ใช้ KM เชื่อมโยงเครื่องมือการปรับปรุงคุณภาพงานอื่น ๆ อย่างไร
 6.3 สำนัก/กอง ใช้ KM ในการปรับปรุงกระบวนการสนับสนุนอย่างไร

 ให้ความสำคัญกับการใช้การจัดการความรู้เป็นเครืองมือปรับปรุงกระบวนงานภารกิจสนับสนุน ได้แก่ การจัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติงาน, การพัฒนานวัตกรรมเพื่อให้ปรับปรุงกระบวนการทำงาน

เข้าชม

เข้าชม